วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2563

สมุนไพร หญ้าแพะหงี่

 สมุนไพร   หญ้าแพะหงี่ แห้ง

บรรจุ 40 กรัม ราคา 450 บาท

บรรจุ 80 กรัม ราคา 800 บาท

ค่าจัดส่ง แฟชร  50 บาท

ไลน์ 0918712395 โทร 0809898770

(ผุ้ขายไม่ใช่หมอ วิธีใช้ ขนาด ต้องศึกษาเองครับ)






ท่านสั่งซื้อ คือ เข้าใจในสรรพคุณและวิธีใช้เป็นอย่างดีแล้ว

1.ล้างสมุนไพร 
2.น้ำ: สมุนไพร (2 ลิตร: 30 กรัม)
3. ต้มไฟอ่อน  10--30Min   
**แช่เย็น -และเครื่องดื่มชาร้อนหรือเย็น

หญ้าแพะหงี่ คือ สมุนไพร ที่ใช้ใบในการทำยา มีสรรพคุณ เสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ รักษาโรคนกเขาไม่ขัน โรคหลั่งเร็ว กระตุ้นให้มีความต้องการทางเพศมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีสรรพคุณ รักษาโรคต่างๆในผู้สูงอายุ เช่น โรคข้อเสื่อม ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หลอดลมอักเสบ โรคตับ โรคกระดูกเปราะ โรคเม็ดเลือดขาวต่ำ โรคหัวใจติดเชื้อไวรัส มีสารออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนเพศหญิง ( phytoestrogens ) ช่วยลดการสูญเสียมวลกระดูกในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน ทำให้การเคลื่อนไหวของร่างกายดีขึ้น บทความนี้จะรวบรวมข้อมูล และ สรรพคุณของหญ้าแพะหงี่ มาให้ทราบกัน

..................
สารสำคัญที่พบในหญ้าแพะหงี่
จากการวิเคราะห์ทางเคมี พบว่าในใบหญ้าแพะหงี่ มีสารสำคัญต่างๆ เช่น สารสเตอรอล ( sterols ) สารฟลาโวนอยด์ ( flavonoids )  และ อัลคาลอยด์ชนิด ( Magnaflorine ) สารโพลิแซ็กคาไรด์ ( polysaccharide ) และ พบว่าฟลาโวนอยด์ชนิด Icariin มีบทบาทสำคัญในการเสริมสุขภาพทางเพศ กระตุ้นความต้องการ มีผลทั้งในเพศชาย และ เพศหญิง ช่วยให้การแข็งตัวของเพศชายได้ดี แก้อาการเหนื่อย ล่าอ่อนเพลีย บรรเทาอาการไม่สบายตัวระหว่างมีประจำเดือน
สรรพคุณของหญ้าแพะหงี่
สรรพคุณ บำรุงร่างกายหลายระบบ เช่น ระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบประสาทช่วยด้านอารมณ์
บำรุงระบบสืบพันธุ์เพศชาย ช่วยทำให้อวัยวะเพศแข็งตัวดี ลดการหลั่งไว รักษาโรคนกเขาไม่ขัน
บำรุงระบบไหลเวียนโลหิต
ช่วยการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ทำให้สบายตัว ลดอาการอ่อนเพลีย มีสารไนตริกออกไซด์ ( Nitric Oxide )
บำรุงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ช่วยกระตุ้นอารมณ์ทางเพศ ช่วยให้น้ำหล่อลื่นมีมากขึ้น
ช่วยบำรุงวัยทอง ลดอารมณ์หงุดหงิด ลดความเครียด จากการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนทางเพศ
ผลข้างเคียงของหญ้าแพะหงี่
นอกจากสรรพคุณ บำรุงระบบสืบพันธุ์ได้ดีแล้ว ยังมี ผลข้างเคียงของหญ้าแพะหงี่ ผู้บริโภคจะต้องระมัดระวังการใช้ ได้แก่
กระตุ้นระบบประสาท ทำให้นอนได้น้อยลง
กระตุ้นการทำงานของหัวใจ ทำให้เกิดหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
ผบอาการผิดปกติในผู้ใช้บางราย เป็น โรคผื่นหลอดเลือดอักเสบ ( Vasculitis rash )
อาการคึกคักมากผิดปกติ อารมณ์ดี พูดมากผิดปกติ
อาการภูมิแพ้สารต่างๆ ใน หญ้าแพะหงี่ ผู้ใช้จะต้องสังเกตุอาการแพ้ หากพบว่าแพ้ให้หยุดใช้ทันที
มีผลต่อการให้น้ำนม ดังนั้น ผู้ที่ตั้งครรภ์ หรือ อยู่ระหว่างให้นมบุตร ควรงดหญ้าแพะหงี่
อาจเกิดอาการวิงเวียน อาเจียน ปากแห้ง กระหายน้ำ และ มีเลือดกำเดาไหลได้









วันจันทร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2563

สารสำคัญที่ออกฤทธิ์ในปลาไหลเผือก




  สารสำคัญที่ออกฤทธิ์ในปลาไหลเผือกคือสารที่มีรสขมกลุ่ม quassinoids ซึ่งหากได้รับในปริมาณที่พอดีก็เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย แต่หากได้รับมากเกินไปก็อาจก่อให้เกิดโทษได้ ซึ่งข้อควรระวังและอาการข้างเคียงจากการรับประทานปลาไหลเผือกมีดังนี้

1. ไม่ควรใช้ในปริมาณสูงมากเกินไป และใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน (ไม่ควรเกิน 400 มก./วัน และติดต่อกันไม่เกิน 3 เดือน) เพราะอาจส่งผลเสียต่อตับได้

2. ระมัดระวังการใช้ร่วมกับยารักษาโรคเบาหวาน เพราะอาจเสริมฤทธิ์ยาจนทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้

3. ระมัดระวังการใช้ร่วมกับยาสลายลิ่มเลือดหรือยาป้องกันการแข็งตัวของเลือดเช่น แอสไพริน เพราะอาจเสริมฤทธิ์ยาจนทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้

4. ผู้ป่วยที่ใช้ยารักษาความดันโลหิตสูง propanolol ควรหลีกเลี่ยง เนื่องจากมีรายงานการวิจัยระบุว่า สารสกัดรากปลาไหลเผือกมีผลยับยั้งการดูดซึมของยาดังกล่าว

5. หญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร และเด็กเล็กไม่ควรรับประทาน เนื่องจากยังไม่มีรายงานความปลอดภัย

6. มีผู้ใช้บางรายระบุว่า หลังจากรับประทานทำให้นอนไม่หลับ